หน้าเว็บ

วันศุกร์ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

พันธุศาสตร์ประชากร

พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
       ประชากรหมายถึงกลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่รวมกันในพื้นที่หนึ่งๆโดยสมาชิกในประชากรของสิ่งมีชีวิตนั้น
สามารถสืบพันธุ์
ระหว่างกันได้และให้ ลูกที่ไม่เป็นหมัน ในประชากรหนึ่งๆจะประกอบด้วยสมาชิกที่มียีนควบคุมลักษณะต่างๆจำนวนมาก
ยีนทั้งหมดที่มีอยู่ในประชากรในช่วงเวลาหนึ่งเรียกว่ายีนพูล(genepool)ซึ่งประกอบด้วยแอลลีล(allele)
ทุกแอลลีลจากทุกยีน
ของสมาชิกทุกตัวในประชากรนั้นดังนั้นพันธุศาสตร์ประชากร 
1.การหาความถี่ของแอลลีลในประชากร

       สิ่งมีชีวิตที่เป็นดิพลอยในแต่ละเซลล์มีจำนวนโครโมโซมเพียง 2 ชุด
 และแต่ละยีนจะมี 2 แอลลีล ดังนั้นถ้าเรารู้จำนวนจีโนไทป์แต่ละชนิดของประชากร
     ในกลุ่มประชากรไม้ดอกชนิดหนึ่งที่ลักษณะสีดอกถูกควบคุมโดย ยีน 2 แอลลีล
 คือ R ควบคุมลักษณะดอกสีแดงเป็นลักษณะเด่น และ r ควบคุมลักษณะดอกสีขาวซึ่งเป็นลักษณะด้อย
 ในประชากรไม้ดอก 1,000 ต้น มีดอกสีขาว 40 ต้น และดอกสีแดง 960 ต้น โดยกำหนดให้เป็นดอกสีแดง
ที่มีจีโนไทป์ RR 640 ต้น และดอกสีแดงมีจีโนไทป์ Rr 320 ต้น


 ประชากรไม้ดอกนี้จะมีความถี่ของแอลลีล R = 0.8 และความถี่ของแอลลีล r = 0.2 ถ้าประชากรไม้ดอกนี้มีโอกาสผสมพันธุ์ได้เท่าๆกัน
.2 ทฤษฎีของฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก
       จี เอช ฮาร์ดี ( G.H. Hardy ) และดับเบิลยู ไวน์เบิร์ก ( W. Weinberg ) ได้ศึกษายีนพูลของประชากร และได้แสนอทฤษฎีของฮาร์ดีไวน์เบิร์กขึ้นโดยกล่าวว่าความถี่ของแอลลีล
และความถี่ของจีโนไทป์ในยีนพูลของประชากรจะ มีค่าคงที่ในทุกๆรุ่น ถ้าไม่มีปัจจัยบางอย่างมาเกี่ยวข้อง
เช่น มิวเทชัน การคัดเลือกโดยธรรมชาติ การอพยพ แรนดอมจีเนติกดริฟท์ (random genetic drift) และการถ่ายเท
เคลื่อนย้ายยีน  ฮาร์ดี-ไวน์เบิร์ก พบว่ายีนพูลของประชากรรุ่นพ่อแม่นั้นมีความถี่ของแอลลีล R = 0.8 และ r = 0.2 ถ้าสมาชิกทุกต้นในประชากรมีโอกาสผสมพันธุ์ได้เท่าๆกันแล้วเซลล์สืบพันธุ์เพศ ผู้ และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียที่มีแอลลีล R มีความถี่ = 0.8 และ r มีความถี่ = 0.2 เมื่อมีการรวมกันของเซลล์สืบพันธุ์ ประชากรไม้ดอกในรุ่นลูกจะมีจีโนไทป์

สรุปงานเรื่องวิวัฒนาการ

สรุปงานกลุ่มเรื่องวิวัฒนาการ

ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน สิ่งมีชีวิตหลายชนิดมีการพัฒนาการมาเรื่อยๆ
สะสมองค์ประกอบทางพันธุกรรม ทีละน้อยเป็นเวลาหลายชั่วรุ่น
 ผ่านกระบวนการคัดเลือกธรรมชาติ ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
 และเกิดเป็นสิ่งมีชีวิตสปีชีส์ใหม่ขึ้น และเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง  
ในเวลาอันยาวนาน จึงเป็นความหลากหลายทางชีวภาพ

วันพฤหัสบดีที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

3.นางสาวชลดา ภูมูล

บันทึกการเรียนรู้
           หัวข้อที่๓  หลักฐานจากคัพภะวิทยาเปรียบเทียบ
เป็นการศึกษาซากดึกดำบรรพ์ในระยะเอ็มบริโอซึ่งใช้เป็นหลักฐานสนับสนุน
การเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตรได้เพราะมีความคล้ายคลึงกันของการ
เจริญเติบโตในระยะเอ็มบริโอนี้เนื่องจากมีรูปร่าง ลักษณะการเจริญเติบโต
ในระยะเอ็มบริโอที่คล้ายคลึงกันนี้ทำให้สามารถบอกได้ว่ามีพ่อแม่เป็นใครต้นกำ
เนิดอยุ่ที่ไหนโดยใช้หลักฐานจากคัพภะวิทยาเปรียบเทียบในการพิจารณาหาอายุ
ของซากดึกดำบรรพ์ต่างๆ
นางสาวชลดา ภูมูล ม.6/11 เลขที่18

วันพฤหัสบดีที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

4.นายอิสระ โสโท

บันทึกการเรียนรู้
หลักฐานด้านชีววิทยาระดับโมเลกุล
หลังจากที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับหลักฐานด้านชีวะวิทยาระดับโมเลกุลผมได้รู้ว่าหลักฐานทางชีววิทยาระดับโมเลกุลนั้นบอกถึงความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตและยังเป็นหลักฐานสำคัญที่สามารถนำมาสนับสนุนหลักฐานทางด้านอื่นๆได้อีกด้วยครับ

1.นางสาวไอรดา ไชยสงคราม

บันทึกการเรียนรู้
1. หลักฐานจากซากดึกดำบรรพ์ของสิ่งมีชีวิต
      เมื่อพืชหรือสัตว์ตายลงมักจะถูกย่อยจนไม่เหลือซากที่สมบูรณ์ แต่ในบางครั้ง ซากของสิ่งมีชีวิตเหล่านี้จะยังคงเหลืออยู่ในรูปของซากดึกดำบรรพ์(fossil) เช่น โครงกระดูกไดโนเสาร์ รอยเท้าสัตว์ 
       ซากดึกดำบรรพ์เป็น สิ่งมีชีวิตที่เคยปรากฏอยู่บนโลกในอดีต แต่ในปัจจุบัน สิ่งมีชีวิตหลายชนิดได้สูญพันธุ์ไป

2.นางสาวสุภาภรณ์ พันธ์ก้อม

บันทึกการเรียนรู้
2.หลักฐานจากกายวิภาคเปรียบเทียบ
สิ่งมีชีวิตบางชนิดเมื่อเราดูจากลักษณะภายนอกจะเห็นว่ามีลักษณะต่างกัน แต่เมื่อพิจารณาถึงโครงสร้างรยางค์คู่หน้าจะพบว่ามีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน การที่สิ่งมีชีวิตมีโครงสร้างของอวัยวะบางอย่างคล้ายคลึงกันแม้ว่าจะทำหน้าที่แตกต่างกันก็ตาม เช่น แขนคน ขาแมว รยางค์คู่หน้าของวาฬ และปีกค้างคาว เราเรียกโครงสร้างลักษณะนี้ว่า ฮอมอโลกัส (homologous structure) ความคล้ายคลึงกันของโครงสร้างลักษณะนี้เป็นหลักฐานที่สนับสนุนว่าสิ่งมีชีวิตนั้นๆมีวิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน

โครงสร้างของสิ่งมีชีวิตที่มีอวัยวะทำหน้าที่เหมือนกัน แต่มีโครงสร้างทางกายวิภาคต่างกัน เรียกว่า อะนาโลกัส (analogous structure) เช่น ปีกนกกับปีกแมลง
          
                  ปีกนก                                  ปีกแมลง
 โครงสร้างของสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างทางกายวิภาคเหมือนกัน แต่หน้าที่แตกต่างกัน เรียกว่า ฮอมอโลกัส (homologous structure) เช่น กระดูกรยางค์คู่หน้าของสัตว์มีกระดูกสันหลัง

สิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างแบบฮอมอโลกัสจะมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดทางวิวัฒนาการมากกว่าสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างแบบอะนาโลกัส


5.หลักฐานทางชีวภูมิศาสตร์



 สภาพแวดล้อมต่างๆ มีความแตกต่างกัน ส่งผลให้มีการกระจายพันธุ์พืชและสัตว์ที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมนั้นๆ  คล้ายกัน อพยพและแพร่กระจาย
และเมื่อเวลาผ่านไปทำให้เกิดหลายสปีชีส์ที่มีลักษณะเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่  จากข้อมูลเหล่านี้สนับสนุนว่าในอดีตแผ่นดินอาจต่อเนื่องเป็นผืนเดียวกัน
และแยกจากกันในเวลาต่อมา 

วันอังคารที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

นายอิสระ โสโท

ประวัติส่วนตัว



ชื่อ  นายอิสระ   โสโท
โรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร
ชั้น ม.6/11   เลขที่ 7
E-mail men_football@hotmail.com

นางสาวชลดา ภูมูล

                                                ประวัติส่วนตัว


ชื่อนางสาวชลดา    ภูมูล
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/11เลขที่18
เกิดวันที่13 พฤศจิกายน  2536
ชอบราดหน้าเป็นพิเศษ
เป็นคนง่ายๆสบายๆไม่ชอบคนโกหก
ชอบสีชมพูเป็นชีวิตจิตใจ
สัตว์เลี้ยง สุนัข
อนาคตอยากมีครอบครัวที่อบอุ่น




นางสาวสุภาภรณ์ พันธ์ก้อม

ประวัติส่วนตัว

ดิฉัน นางสาว สุภาภรณ์พันธ์ก้อม
อายุ 18 ว/ด/ป เกิด 4 สิงหาคม 2536 
สีที่ชอบ น้ำเงิน แดง
สัตว์เลี้ยง สุนัข ปลา
คติ เชื่อมั่นในตัวอย่ากลัวในสิ่งที่เผชิญ
E-mail: spt_101@hotmail.com

นางสาวไอรดาไชยสงคราม

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ นางสาวไอรดา    ไชยสงคราม
เรียนโรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร 
ชั้น ม. 6/11   เลขที่ 16
E-MaiL por_ultramancosmos@hotmail.com